การพยาบาลก้าวไกล เพราะน้ำใจเหล่าพยาบาล เสียสละและบริการ ตามปณิธานสมเด็จพระบรมราชชนนี
ชื่อ | อาจารย์สำเร็จ เทียนทอง |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ งานวิจัยและงานวิเทศสัมพันธ์ |
อีเมล | samrej66@gmail.com |
ที่อยู่ |
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 224 ถนนพลแพน ตำบล ในเมือง อำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 |
โทร | 045-255709 ต่อ 100 |
1) ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 3 จังหวัดอุบลราชธานี.
ลักขนา ชอบเสียง (หัวหน้าโครงการวิจัย), พรธิรา บุญฉวี, หัทยา อุดมมา, สำเร็จ เทียนทอง.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2567.
2) ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองที่เกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ (HASMEP-Thai) ต่อ CD4 และภาวะ สุขภาพของชายรักชายชาวไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี: การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม.
ณัฎฐวรรณ คำแสน (หัวหน้าโครงการวิจัย), อัญชลี ฐิตะสาร, อรดี โชคสวัสดิ์, สำเร็จ เทียนทอง, พิสมัย วงศ์สง่า, อนงค์ลักษณ์ วงศ์ตรี, เกษราภรณ์ เคนบุปผา.
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2567.
3) ภาวะโภชนาการในผู้ป่วยโรคเรื้อรังระยะที่ 3 – 5 ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี.
ลักขนา ชอบเสียง (หัวหน้าโครงการวิจัย), สำเร็จ เทียนทอง, ฉัตรสุดา กานกายันต์, จตุพร จันทะพฤกษ์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2566.
4) การศึกษาเปรียบเทียบความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของนักศึกษาพยาบาลที่เป็นผลจากโปรแกรมสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง.
นวพล แก่นบุปผา (หัวหน้าโครงการวิจัย), ดวงกมล หน่อแก้ว, ปาจรีย์ ตรีนนท์, ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, สำเร็จ เทียนทอง, ชนุกร แก้วมณี.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2560.
5) ผลของโปรแกรมการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาพยาบาล.
ดวงกมล หน่อแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), ปาจรีย์ ตรีนนท์, ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, นวพล แก่นบุปผา, สำเร็จ เทียนทอง, แสงเดือน กิ่งแก้ว.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2559.
1) Relationships between health beliefs, fear of COVID-19, knowledge of HIV transmission, and HIV preventive behaviors among young Thai men who have sex with men during the COVID-19 pandemic.
Vongtree, A., Khumsaen, N., Tiantong, S., Supannee Peawnalaw, Panarat Chenchob. (2024).
National Journal of Community Medicine, 15(9), 1-10.
1) ผลของการใช้สื่อการเรียนรู้แอพพลิเคชั่นเพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.
ปาจรีย์ ตรีนนท์, สำเร็จ เทียนทอง, ธีราภรณ์ บุญล้อม, ชิณท์ภัทร วันชัย, ชลธิชา บุญบรรจง, ญาสุมินทร์ พลเทพ, ณัฐชยา พันธุ์เพ็ง, ณัฐทิญา ปากหวาน, ณัฐริตรา ปรือทอง, ดาริกา เพชรแก้ว, ดนัย ผลสะอาด. (2562).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(3), 98-105.
2) ผลจากโปรแกรมการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองต่อความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ของนักศึกษาพยาบาล.
นวพล แก่นบุปผา, ดวงกมล หน่อแก้ว, ปาจรีย์ ตรีนนท์, ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, สำเร็จ เทียนทอง, ชนุกร แก้วมณี. (2561).
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 15(1), 291-302.
3) ผลของโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาพยาบาล.
ดวงกมล หน่อแก้ว, ปาจรีย์ ตรีนนท์, ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, นวพล แก่นบุปผา, สำเร็จ เทียนทอง, ชนุกร แก้วมณี. (2561).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(3), 84-95.
1) การศึกษาภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-5 จังหวัดอุบลราชธานี.
ลักขนา ชอบเสียง, สำเร็จ เทียนทอง, ฉัตรสุดา กานกายันต์, จตุพร จันทะพฤกษ์. (2566).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 41(4), 1-12.