พึงรักษาความดี ดุจเกลือรักษาความเค็ม
ชื่อ | ดร.อภิรดี เจริญนุกูล |
---|---|
ตำแหน่ง | หัวหน้า งานนโยบายและยุทธศาสตร์ |
อีเมล | apiradee@bcnsp.ac.th |
ที่อยู่ |
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 224 ถนนพลแพน ตำบล ในเมือง อำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 |
โทร | 045-255462 ต่อ 118 |
1) การศึกษาสภาพการจัดการความรู้ของอาจารย์ในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพพสิทธิประสงค์.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้สถานศึกษา. 2564.
2) การสังเคราะห์งานวิจัยรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาล.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), ระวีวรรณ ใจศิริ, มัลลิกา แสนสุริวงค์, ลัดดาวัลย์ ประทาน, รัฐธรรมนูญ หาแก้ว, มุทิตา บรรเลงชื่น, รัตนาวดี เงินนาม, วรัญญา พันธุ์โพธิ์, รุ่งลาวัลย์ เปรมทา, รัตติญาภรณ์ ศิริปะกะ, ลลิตา สิงห์ครุย.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2563.
3) ศึกษาประสบการณ์การดูแลความปวดในผู้ป่วยมะเร็งสูงอายุอย่างเป็นองค์รวมใน มุมมองผู้รับบริการและผู้ให้บริการ.
นุสรา ประเสริฐศรี (หัวหน้าโครงการวิจัย), รศ.ดร.กิตติกร นิลมานัต, ผศ.ดร.ปณิชา บุญสวัสดิ์, ผศ.ดร.สาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง, รศ.นพ.ปิ่น ศรีประจิตติชัย, นพ.ภรเอก มนัสวานิช, นพ.ลัญฉน์ศักดิ์ อรรฆยากร, นพ.จักรพงษ์ จักกาบาตร์, น.ส.ญานิศา ดวงเดือน, น.ส.วีรมลล์ จันทรดี, อภิรดี เจริญนุกูล.
ไม่ระบุ (ทุนภายนอก). 2563.
4) ผลของโปรแกรมการศึกษาการจัดการความปวดโดย RAT Model ต่อความรู้ การประเมิน และทักษะการจัดการความปวดในการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้สถานศึกษา. 2561.
5) การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), พนัชญา ขันติจิตร.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2561.
6) .
แสงเดือน กิ่งแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, วรางคณา บุตรศรี, ชนุกร แก้วมณี, ปาจรีย์ ตรีนนท์.
AIPNI AINEC. 2561.
7) .
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), พัชรี ใจการุณ.
Health Educator Club University of New England. 2561.
8) .
ธีราภรณ์ บุญล้อม (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล.
Health Educator Club University of New England. 2561.
9) สถานการณ์การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 10.
ปัทมา ผ่องศิริ (หัวหน้าโครงการวิจัย), วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, จรูญศรี มีหนองหว้า, นุสรา ประเสริฐศรี, อภิรดี เจริญนุกูล, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, มยุรี เจริญศรี, สอาด มุ่งสิน, วรางคณา บุตรศรี, วันวิสาข์ สืบสายกลิ่น.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2560.
10) ผลของโปรแกรมการศึกษาการจัดการความปวดโดย RAT Model ต่อความรู้ การประเมิน และทักษะการจัดการความปวดในการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), มณีรัตน์ จิรัปปภา, วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, กิตติยาพร จันทร์ชม.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2560.
11) การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), พนัชญา ขันติจิตร.
สำนักงานวิจัยระบบสาธารณสุข. 2560.
12) -.
แสงเดือน กิ่งแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, วรางคณา บุตรศรี, ปาจรีย์ ตรีนนท์, ชนุกร แก้วมณี, Dr. Ivan Elisabeth Purba, M.Kes, Janno Sinaga, M.Kep, Sp.KMB, Rinco Siregar, MNS , Rinawati Sembiring, M.Kes, Amila, M.Kep, Sp.KMB.
Association of Indonesian Nurse Education Center. 2560.
13) -.
ธีราภรณ์ บุญล้อม (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, James Munir Gibbins Harpaz.
Health Educator Club University of New England. 2560.
14) การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในระยะจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
อรทัย พรมแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, ลักขนา ชอบเสียง, อรุณี รัตนนิเทศ, รุจิรา คำสาร, พรรณชตา เจียวิริยบุญญา.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2559.
15) การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI.
พัชราภรณ์ อุ่นเตจ๊ะ (หัวหน้าโครงการวิจัย), พนัชญา ขันติจิตร, อภิรดี เจริญนุกูล, ปาจรีย์ ตรีนนท์.
สำนักงานวิจัยระบบสาธารณสุข. 2559.
16) .
แสงเดือน กิ่งแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, วรางคณา บุตรศรี, ปาจรีย์ ตรีนนท์, ชนุกร แก้วมณี, Dr. Ivan Elisabeth Purba, M.Kes, Janno Sinaga, M.Kep, Sp.KMB, Rinco Siregar, MNS, Amila, M.Kep, Sp.KMB, Rinawati Sembiring, M.Kes.
Association of Indonesian Nurse Education Center. 2559.
17) -.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธีราภรณ์ บุญล้อม, James Munir Gibbins Harpaz.
Health Educator Club University of New England. 2559.
18) ความรู้ การประเมิน การจัดการอาการ และอุปสรรค เกี่ยวกับพยาธิสภาพส่วนปลาย เนื่องจากเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็ง (Chemotherapy induced Peripheral Neuropathy : CIPN).
วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, นุสรา ประเสริฐศรี, ชลิยา วามะลุน.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2558.
19) ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ.
ปาจรีย์ ตรีนนท์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), อภิรดี เจริญนุกูล, ธีราภรณ์ บุญล้อม, ลักขนา ชอบเสียง, ฉัตรสุดา กานกายันต์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2558.
20) โครงการศึกษาระยะเวลาในการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), พัชราภรณ์ อุ่นเตจ๊ะ, ปาจรีย์ ตรีนนท์.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2558.
21) .
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, แสงเดือน กิ่งแก้ว, นุสรา ประเสริฐศรี.
AIPNI AINEC. 2558.
22) การัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบสหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้.
อภิรดี เจริญนุกูล (หัวหน้าโครงการวิจัย), ธีราภรณ์ บุญล้อม.
Health Educator Club University of New England. 2558.
1) ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้.
ธีราภรณ์ บุญล้อม, อภิรดี เจริญนุกูล. (2568).
วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 31(1), 33-53.
2) การศึกษาดัชนีการจัดการความปวดในผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็ง.
นุสรา ประเสริฐศรี, อภิรดี เจริญนุกูล, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, ยศพล เหลืองโสมนภา, ชลิยา วามะลุน, โสภา ทับทิมหิน. (2567).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 34(1), 89-100.
3) ความรอบรู้ทางสุขภาพ อาการและการจัดการอาการตนเองของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา.
นุสรา ประเสริฐศรี, ปัทมา ผ่องศิริ, ชลิยา วามะลุน, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, อภิรดี เจริญนุกูล, พิริยลักษณ์ ศิริศุภลักษณ์, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, อภิรดี เจริญนุกูล. (2566).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 33(3), 82-97.
4) ความรอบรู้ด้านสุขภาพการจัดการความปวดในผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็ง.
นุสรา ประเสริฐศรี, ยศพล เหลืองโสมนภา, ชลิยา วามะลุน, โสภิต ทับทิมหิน, ศรีสุดา งามขำ, พิริยลักษณ์ ศิริศุภลักษณ์, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, อภิรดี เจริญนุกูล. (2566).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 33(3), 82-97.
5) การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.
ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, จิราพร วรวงศ์ , เพ็ญนภา ศรีหริ่ง, รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง , จุฬารัตน์ ห้าวหาญ , ดิษฐพล ใจซื่อ , อภิรดี เจริญนุกูล, ทิพาวรรณ สมจิตร , ชลดา กิ่งมาลา , ปณิตา ครองยุทธ . (2565).
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข , 16(2), 151-168.
6) ความรู้และการป้องกันอุบัติเหตุเข็มและของมีคมทิ่มตำของนักศึกษาพยาบาล.
นุสรา ประเสริฐศรี, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, อภิรดี เจริญนุกูล, วรางคณา บุตรศรี, อัญชลี วิเศษชุณหศิลป์. (2562).
วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา, 20(1), 160-171.
7) ความรู้ การประเมิน ปัญหาอุปสรรคในการประเมิน และการจัดการอาการของพยาบาล เกี่ยวกับพยาธิสภาพประสาทส่วนปลายเนื่องจากเคมีบําบัดในผู้ป่วยมะเร็ง.
นุสรา ประเสริฐศรี, วิไลลักษณ์ ตียาพันธ์, อภิรดี เจริญนุกูล, ชลิยา วามะลุน. (2562).
วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 20(3), 70-82.
8) การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล.
อรทัย พรมแก้ว, อภิรดี เจริญนุกูล, ลักขณา ชอบเสียง, อรุณี รัตนนิเทศ, รุจิรา คำสาร, พรรณ์ชตา เจียวิริยบุญญา. (2561).
พุทธชินราชเวชสาร , 35(2), 248-258.
1) การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.
อภิรดี เจริญนุกูล. (2565).
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข , 16(2), 151-168.
2) การทบทวนขอบเขตงานวิจัยด้านสุขภาพของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก.
ปัทมา ผ่องศิริ, จรูญศรี มีหนองหว้า, อภิรดี เจริญนุกูล, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, นุสรา ประเสริฐศรี, แสงเดือน กิ่งแก้ว, อุดมวรรณ วันศรี, อนงค์ลักษณ์ วงศ์ตรี, ถนอมศักดิ์ บุญสู่, ศุทธินี วัฒนกูล, สุภาพร บุญศิริลักษณ์, จุรีรัตน์ กิจสมพร, อรชร อินทองปาน. (2564).
วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 27(1), 8-24.
3) แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี.
พนัชญา ขันติจิตร, ไวยพร พรมวงค์, ชนุกร แก้วมณี, อภิรดี เจริญนุกูล. (2564).
วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 5(2), 39-53.
4) ผลของโปรแกรมการสอนตามแนวคิดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่อสมรรถนะการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในนักศึกษาพยาบาล.
นุสรา ประเสริฐศรี, มณีรัตน์ จิรัปปภา, อภิรดี เจริญนุกูล. (2559).
วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 11(3), 145-153.
1) พฤติกรรมการปฏิบัตการพยาบาล เพื่อป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์.
ปาจรีย์ ตรีนนท์, อภิรดี เจริญนุกูล, ลักขนา ชอบเสียง, ธีราภรณ์ บุญล้อม, ฉัตรสุดา กานกายันต์. (2559).
การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติราชธานี วิชาการครั้งที่1 "สร้างเสริมสหวิทยาการผสมผสานวัฒนธรรมไทยก้าวย่างอย่างมั่นใจเข้าสู่ AEC" วันที่ 29 ก.ค. 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. 76-84.