การพยาบาลก้าวไกล เพราะน้ำใจเหล่าพยาบาล เสียสละและบริการ ตามปณิธานสมเด็จพระบรมราชชนนี
ชื่อ | อาจารย์ไวยพร พรมวงค์ |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ |
อีเมล | waiyaporn@gmail.com |
ที่อยู่ |
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 224 ถนนพลแพน ตำบล ในเมือง อำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 |
โทร | 045-255462 ต่อ 355 |
มหาวิทยาลัยมหิดล
  สำเร็จการศึกษาปี พ.ศ 2561
ปริญญาตรี: พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) การพยาบาลผู้ใหญ่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์
  สำเร็จการศึกษาปี พ.ศ 2554
1) ประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่บ้านต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว: การทบทวนรายงานการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน.
จรูญศรี มีหนองหว้า (หัวหน้าโครงการวิจัย), ไวยพร พรมวงค์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2567.
2) ประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่มีพยาบาลเป็นผู้นำต่อผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน.
จรูญศรี มีหนองหว้า (หัวหน้าโครงการวิจัย), ไวยพร พรมวงค์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2566.
3) ผลของการใช้แอปพลิเคชัน A2F Bundle Delirium Prevention เพื่อพัฒนาความรู้ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล.
จรูญศรี มีหนองหว้า (หัวหน้าโครงการวิจัย), จตุพร จันทะพฤกษ์, ไวยพร พรมวงค์, อภิชญา เยี่ยมราษฎร์, อรัญญา คำโสภา, ปาลิตา เผ่าสิงห์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2566.
4) ความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), จรูญศรี มีหนองหว้า.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2564.
5) ผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้สถานศึกษา. 2564.
6) ความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้สถานศึกษา. 2564.
7) ความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวในโรงพยาบาล 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), จรูญศรี มีหนองหว้า, นางรุ่งทิพย์ เจริญศรี, อัจฉรา นาชัย, นุชจรี โกมลศรี, สิริทิพย์ ผุยอุทา, ฐิติพร สีกานิล, วิโรจน์ สาขามุละ, จิราพร บุญชิต, เบญญา นวลมณี, เอมวลี สุมนารถ, อินทรวชิราห์ พันธ์จันทร์, อรัญญา สังคะพันธ์, แสงเดือน กิ่งแก้ว.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2563.
8) ผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), จรูญศรี มีหนองหว้า, สุมิตรา วีระกุล, วิไลวรรณ ปลูกเจริญ.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2563.
9) ความฉลาดทางสุขภาพและอุปสรรคในการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็ง ของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี.
แสงเดือน กิ่งแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย), ไวยพร พรมวงค์.
เงินรายได้สถานศึกษา. 2562.
10) การสำรวจขอบเขตการวิจัยเกี่ยวกับความฉลาดทางสุขภาพในประเทศไทย.
ไวยพร พรมวงค์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้สถานศึกษา. 2561.
1) ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ.
ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล , 39(1), 47-63.
2) ความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวในโรงพยาบาล50พรรษา มหาวชิราลงกรณ.
ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า, แสงเดือน กิ่งแก้ว, รุ่งทิพย์ เจริญศรี. (2565).
วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 1(38), 172-185.
3) การประเมินผลลัพธ์ระบบบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี.
ไวยพร พรมวงค์, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ. (2562).
รามาธิบดีพยาบาลสาร , 25(2), 166-180.
4) ความฉลาดทางสุขภาพ และอุปสรรคในการดูแลแบบประคับประครองในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็งของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี.
แสงเดือน กิ่งแก้ว, ไวยพร พรมวงค์. (2562).
วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ , 12(2), 604-612.
5) ผลของโปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดับสูงในการพยาบาล หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนต่อความรู้ ทักษะปฏิบัติ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล.
ดวงกมล หน่อแก้ว, มนชยา ก้างยาง, พรรณวดี บูรณารมย์, จงลักษณ์ ทวีแก้ว, นวพล แก่นบุปผา, ไวยพร พรมวงค์. (2562).
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 29(3), 53-65.
1) ความรู้และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาลในการป้องกันและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยที่อยู่ในระยะวิกฤต.
จรูญศรี มีหนองหว้า, จตุพร จันทะพฤกษ์, ไวยพร พรมวงค์, รัชนี แสนศรี, โยษิตา ศรีโกศล. (2567).
วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 18(1), 154-168.
2) การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช้วยหายใจโดยการดูดสิ่งคัดหลั่งเหนือเปราะยาง WHAPPCEE bundle โรงพยาบาลศรีสะเกษ.
จุฬาลักษณ์ ดวนใหญ่, จรูญศรี มีหนองหว้า, ศุนัญญา มีทอง, ไวยพร พรมวงค์. (2567).
วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ , 39(2), 469-477.
3) ผลการใช้แอปพลิเคชันเพื่อพัฒนาความรู้และการตัดสินทางคลินิกสำหรับนักศึกษาพยาบาล ในการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะสับสนเฉียบพลัน.
จรูญศรี มีหนองหว้า, วิษณุ จันทร์สด, ไวยพร พรมวงค์. (2565).
วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 16(1), 299-312.
4) ความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า. (2564).
วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 15(37), 377-391.
5) ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของนักศึกษาพยาบาลในเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ธวัชชัย ยืนยาว, ไวยพร พรมวงค์, กัลยารัตน์ คาดสนิท. (2564).
วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 29(2), 204-213.
6) แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี.
พนัชญา ขันติจิตร, ไวยพร พรมวงค์, ชนุกร แก้วมณี, อภิรดี เจริญนุกูล. (2564).
วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 5(2), 39-53.
7) ผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวในคลินิกหัวใจ ล้มเหลว โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.
ไวยพร พรมวงค์. (2564).
วชิรเวชสาร , 65(5), 131-143.
1) บทบาทพยาบาลชุมชนในการสร้างเสริมความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง, แสงเดือน กิ่งแก้ว, นุสรา ประเสริฐศรี, ไวยพร พรมวงค์ (พะเยา, 2562). 3-13.
2) แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อจัดการอาการหายใจหอบเหนื่อยในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว : การทบทวนวรรณกรรมแบบบูรณาการ, จรูญศรี มีหนองหว้า, ไวยพร พรมวงค์ (กรุงเทพ, 2562). 51-64.
3) การจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว, ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า (กรุงเทพ, 2562). 297-304.
ตุลาคม
กิจกรรมที่ 1 อนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และท้องถิ่น และวันสำคัญของชาติ
กิจกรรมที่ 12 กิจกรรมส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
สิงหาคม
โครงการพัฒนา นักศึกษาด้านคุณธรรมจริยธรรม พิธีไหว้ครู มอบหมวก เครื่องหมายเลื่อนชั้นปี มอบทุนการศึกษา และพิธีรับตะเกียงไนติงเกล
ตุลาคม
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและการส่งเสริมสุขภาพนักศึกษา เครือข่ายวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ (นครเทียนเกมส์)
กิจกรรม สืบสานวัฒนธรรมของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และท้องถิ่น
พยาบาลวิชาชีพ(ด้านการสอน)
ฝ่ายวิชาการ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์